กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ รูปแบบแท่งเทียน

บทความ

  หลังจากที่เรารู้จักกับ  Rally Base Rally (RBR) และ Drop Base Drop (DBD)  ไปแล้ว ซึ่งเป็นรูปแบบในการขึ้นต่อหรือตามเทรน วันนี้ เราจะทำความอีกหนึ่งรูปแบบ นั้นรูปแบบการเคลื่อนที่กลับตัว  Rally📈 / Base / Drop  📉 เราเคยเล่าความหมายไปแล้วในตอนที่แล้ว แต่สำหรับใครเปิดบทความครั้งแรก หรือลืมไป เราเลยขอย่ำอีกว่า ถึงความหมายของแต่ละคำ  Base หมายถึง การสร้างฐานราคานั่นเอง หรือ ช่วงเวลาที่ราคานั้น มีจำนวนคนซื้ออกับคนขาย เท่ากัน หรือ ภาษากราฟ ก็จะเรียกว่า   Balance  Rally การปรับตัวขึ้นที่มีการเพิ่มขึ้นของราคาหรือแนวโน้มของราคาสูงขึ้นอย่างชัดเจน เป็นการแสดงถึงแรงซื้อนั้นมีมากกว่า แรงขาย จนทำให้ราคาปรับตัวสูงขึ้น และเพิ่มขึ้นรวดเร็ว Drop ก็หมายถึงปรับตัวลงราคาหรือแนวโน้มของราคาลดลง เป็นการแสดงถึงฝังขายมีมากกว่ากำลังซื้อ และลดลงรวดเร็ว RallyBaseDrop  📈 📉 คือรูปแบบกลับตัวลง หลังจากที่ราคา วิ่งขึ้นมา Rally และเกิดการพักตัว Base หลังจากนั้นก็มีแรงขายเข้ามาผลักดันราคาลงไป Drop  เป็นการบ่งบอกถึงแรงขายที่มีมากกว่าแรงซื้อ  Drop Base Rally  📉 📈 คือรูปแบบกลับตัวขึ้น หลังจากที่ราคา ปรับลงมา Drop และ
หลังจากที่เราเขียน Balance / Imbalance ไปแล้ว วันนี้จะเจาะลึกถึงรูปแบบการเคลื่อนที่ของราคากัน โดย วันนี้เราจะไปทำความรู้จัก กับ  Rally Base Rally (RBR) และ Drop Base Drop (DBD) คืออะไร แนวทางการใช้งาน  Rally / Base / Drop  ก่อนที่จะไปรู้จักกับการคเคลือนที่รูปแบบ Rally Base Rally (RBR) และ Drop Base Drop (DBD) ต้องรู้ก่อนว่า แต่ลำคำนั้นหมายความยังไง  📊 Base หมายถึง การสร้างฐานราคานั่นเอง หรือ ช่วงเวลาที่ราคานั้น มีจำนวนคนซื้ออกับคนขาย เท่ากัน หรือ ภาษากราฟ ก็จะเรียกว่า   Balance  📈 Rally การปรับตัวขึ้นที่มีการเพิ่มขึ้นของราคาหรือแนวโน้มของราคาสูงขึ้นอย่างชัดเจน เป็นการแสดงถึงแรงซื้อนั้นมีมากกว่า แรงขาย จนทำให้ราคาปรับตัวสูงขึ้น และเพิ่มขึ้นรวดเร็ว 📉 Drop ก็หมายถึงปรับตัวลงราคาหรือแนวโน้มของราคาลดลง เป็นการแสดงถึงฝังขายมีมากกว่ากำลังซื้อ และลดลงรวดเร็ว Rally Base Rally (RBR)📈 ก็คือรูปแบบการวิ่งของราคาที่เคลื่อน  ราคาขึ้น (Rally) และพักราคา (Base)สร้างโซนเป็นฐาน Demand ไว้  และขึ้นต่อ (Rally)  Drop Base Drop(DBD)📉 ก็คือรูปแบบการปรับลดลงของราคา ที่เคลือนที่ ราคาลง (Drop) และพักราคา (
หลังจากที่เราห่างหายจากซีรีย์ PriceAction พฤติกรรมผ่านแท่งเทียน ไปนาน วันนี้แอนมินเลยจะมานำเสนอ รูปแบบ แท่งเทียนที่เราเจอมากที่าสุด นั้นคือ Engulfing หรือ แท่งกลืนกิน และ แนวงทางการใช้งาน  Engulfing หรือแท่งกลืนกิน  คืออะไร 📊   แท่งเทียนมีแรงซื้อหรือแรงขาย มหาศาล ทำให้แท่งเทียนที่มีจุด Hight และ Low ร่วมไปถึงราคาปิดครอบคุมแท่งก่อนหน้า เป็นรูปแบบแท่งเทียนที่นัยยะสำคัญที่มีแสดงถึงการเข้ามาของกำลังชื้อขาย และ เป็นการบอกสัญญาณที่จะเกิดการกลับตัว ประเภท Engulfing📊 Bullish Engulfing - กระทิงกินหมี หุ้นอาจจะเปลี่ยนแนวโน้มเป็นขาขึ้น เขียวกลืน แดง📈 Bearish Engulfing - หมีกลืนกระทิง หุ้นอาจจะเปลี่ยนแนวโน้มเป็นขาลง แดงกลืน เขียว  📉 แนวทางการใช้งาน Engulfing 📊 👉1.Engulfing  จะทำงานได้ดีที่สุดเมื่อใช้งานคู้กับแนวรับแนวต้าน 👉2. เข้าเมื่อเบรค Engulfing  ตามรูปแบบ inside bar มีหลายครั้งที่ราคาเลือกที่จะพักตัวเป็นแท่งเทียนเล็ก ภานใน Engulfing  👉3.ย่อ Time Frame เข้าไปดูภายในแท่ง Engulfing เพื่อให้โคร้งสร้างของ แท่ง Engulfing  เคลือนที่แบบใหน ถึงปิดแบบ Engulfing  👉4.ใช้งานร่วม อินดิเคเตอร์ประ
วันนี้เราจะนำเสนอเกี่ยวกับรูปแบบ Chart Pattern อีกหนึ่งรูปแบบที่นิยมใช้ และมักเจอมากที่สุด นั้นคือ Inside Bar ร่วมไปถึงวิธีการใช้งาน  Mother Bar  คือะไร  🔰 ก่อนที่เราจะรู้จัก Inside Bar ต้องรู้จัก Mother Bar  ก่อนเพื่อที่จะได้เข้าใจ้ได้ง่านขึ้น  โดยมา Mother Bar   นั้นคือ แท่งเทียนที่การซื้อขายจำนานมหาศาล จึงทำให้แท่งเทียน มีขนาดที่ใหญ่กว่าแท่งก่อนหน้าอย่างชัดเจน โดยเราจะอ้างอิง ราคา High-Low หรือ หาง ของแท่งเทียน Inside Bar คือะไร 🔰 ชุดแท่งเทียนเคลื่อนที่อยู่ในแท่งเทียน Mother Bar   โดยที่ High หรือ Low จะไม่สูงกว่าแท่นเทียน Mother Bar   โดยนัยยะInside Bar คือ หลังจากเกิดซื้อขายครั้งใหญ่จนเกิด Mother Bar  หลงัจากนั้นราคาก็ฏมีการพักราคาเพื่อปรรับฐาน หรือเลือกทางเดินของราคาตือไปว่าจะขึ้นต่อหรือ ลงต่อ  แนวทางการใช้งาน Inside Bar💻 1. การเบรค Mother Bar  📈     นี้น่าจะเป็นพื้นฐานของการเทรด  Mother Bar   รอให้ราคา ทะลุเหนือแท่ง Mother Bar  หรือปิดใต้ Mother Bar และ เข้าตามแรง  2. หาจังหวะ False Breakout 📉 เช่นเดียว เมื่อราคาเบรค Mother Bar  ก็มีโอกาสที่จะเกิด False Breakout โดยหาโอกาส
หลังจากที่เรานำเสนอ เกี่ยวกับ สายเทรด ไม่ว่าจจะเป็น สายกราฟปล่าว และ สาย อินดิเคเตอร์  วันนี้เราจะมาเจาะลึกกันว่า การเทรด กราฟ ปล่าวนั้นต้องเตรียวตัวอะไรบ้าง การเทรดกราฟปล่าว ✅ เป็นรูปแบบการเทรดอยูแบบหนึ่งที่มีการใช้กันแพร่หลาย โดยใช่การตีความราคาจากพฤติกรรมของราคาที่เคยเกิดขึ้นในอดีต โดยรูปแบบที่นิยมใช้กัน ก็คือ รูปแบบ Price Action  และ Chart Pattern โดยหลายคนเรียกว่า สายนี้ว่าเป็นสายศิลห์ เพราะว่าไม่ได้มีการคำนวณทางคณิตศาสตร์   Price Action Chart Pattern การเตรียมตัวการเทรดสายกราฟปล่าว 💢 นอกจากเราที่ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับรูปแบบ Price Action  และ Chart Pattern ก็อาจจะยังไม่พอสำหรับการเทรด เพราะอาจมีความเสียงที่เกิดสัญญาณหลอกได้ โดยสิ่งที่คนนิยมน้ำมาใช้รวมกับการเทรดกราฟป่าวก็จะมี  1. แนวรับแนวต้าน นี้สิ่งที่สำคัญมากสำหรับการเทรดรูปแบบการเทรดกราฟปล่าว นอกจากแนวรับแนวต้านธรรมดาแล้ว ยังมีแนวเทรนไลน์  หรือแนวตัวเลข Fibonacci Retracement 2. การนับคลื่น Elliott Wave และ  Swing High และ Swing Low   ก็จะช่วยให้การเทรดได้ง่ายขึ้น  เพราะเราก็จะรู้ตำแหน่ง เพือใหเราหาความเปรียบในการเทรด  cr.image
  หากใครที่เทรด  Forex มาสักระยะ และเกิดปัญหาในการเข้าตามเทรน เข้าแล้วติดดอย เข้าแล้วไม่ได้ราคาได้เปรียบ วันนที่เราทำความรูปแบบการของกราฟที่จะทำให้ราคามีโอกาสเข้าได้ที่ดีที่สุด นั้นคือ Swing-High Swing-Low ทำความรู้จักกับ  Swing-High และ Swing-Low Swing-High คืออะไร? Swing-High คือ กราฟราคาที่เคลื่อนที่สูงสุด ภายหลังจากการเคลื่อนไหว ที่สูงแล้วก่อนหน้านี้ ก่อนที่จะตกลงไป ต่ำกว่าเดิ ม การย้ายที่สูงขึ้นไปสู่ การสวิงสูงนั้น มักจะเป็นระดับที่สำคัญ และเทรดเดอร์ ที่เทรดด้วยการสวิง มักใช้ในการตามล่า หาการกลับตัวของกราฟราคา Swing-Low คืออะไร? Swing-สวิง Low มีแง่มุมเดียวกันกับการสวิง High แต่สลับด้านกัน ด้วยความที่กราฟราคาที่สวิง Low จะมีตำแหน่งการสวิงที่ต่ำกว่า สวิง Low ก่อนหน้า โดยจะการมีสวิงที่สูงขึ้น (ไม่สูงกว่าสวิงต่ำแรก) มาขั้นช่วงกลาง ก่อนสวิงต่ำกว่าอีกครั้ง เรียกว่า สวิง Low การเทรด สวิง High และ สวิง Low  Swing-High โดยการเทรด  Swing-High สิ่งสำคัญมาก นั้นคือ แนวรับ  ราคาต้องลงมาที่แนวรับแนวต้าน  แล้วมีการทดสอบแนวไม่ผ่าน และเกิดสัญญาณที่จะขึ้นต่อ หลังจากนั้นราคาก็หาจังหวะในการเข้า  Buy
หากใครที่เบื่อกับการเทรด กราฟแท่งเทียน แล้วอยากได้อะไรใหม่ๆ มาเทรดหรือมาสร้างระบบเทรด  Renko อาจจะตอบสนองความต้องการได้ ฉนั้นวันนี้เราจะมาทำความรูป กราฟ  Renko ไปพร้อมกัน  แผนภูมิ Renko มาจากคำในภาษาญี่ปุ่น "renga" ซึ่งแปลว่า "ก้อนอิฐ" ความแตกต่างที่สำคัญระหว่างแผนภูมิ Renko และแผนภูมิแท่งเทียนทั่วไปของญี่ปุ่นคือแผนภูมิ Renko ไม่ได้คำนึงถึงเวลา ก้อนอิฐ Renko ปรากฏขึ้นเมื่อราคาครอบคลุมระยะทางที่แน่นอน และไม่สำคัญว่าจะต้องใช้เวลาเท่าไหร่  ตัวอย่างเช่นหากคุณเลือกก้อนอิฐขนาด 20 pips ก้อนอิฐจะสร้างขึ้นก็ต่อเมื่อราคาขยับขึ้น 20 pips หรือลง 20 pips ก้อนอิฐตลาดกระทิงและตลาดหมีมีสีที่แตกต่างกัน ก้อนอิฐมีขนาดเท่ากันเสมอ พวกมันไม่เคยปรากฏตัวติดๆกัน ก้อนอิฐแต่ละก้อนต่อไปนี้ถูกทาสีที่มุม 45 องศาของก้อนอิฐก่อนหน้า ก้อนอิฐจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงหลังจากที่มันปรากฏ ข้อดีของ อ่านง่าย ช่วยลดสัญญาณรบกวนของตลาด ตัวชี้วัดและ EA สามารถทำงานได้ดีขึ้นกับ Renko ระบุรูปแบบการกลับตัว เช่น หัวไหล่  ท็อปสามเหลี่ยม ปรับความสามารถให้เข้ากับ Day / Swing Trade ระบุแนวรูปแบบการต่อเนื่องของกราฟได้ง่ายกว
หนึ่งในแพทเทิร์นกราฟ ที่นิยมใช้งานกันมากที่สุดในการเทรด forex หรือตลาดอื่น นั้นคือ  Double top และDouble bottoms  เนื่องด้วยเข้าใจง่าย และมีความชัดเจน วันนี้เราเลยจมาเข้าใจ Double top และDouble bottoms ให้มากขึ้นและวิธีการใช้งานที่จะความแม่นให้กับ Double top และDouble bottoms Double top และ Double bottoms   คือหนึ่งในแพทเทิร์นที่นิยมมากที่สุดในการเทรด เป็นแพทเทิร์นการกลับตัวที่เชื่อถือได้ สามารถใช้ในการเข้าซื้อสถานะขาลงหลังจากเทรนด์ขาขึ้น โดยประกอบไปด้วย 2 ยอดที่เกือบจะอยู่ในแนวเดียวกันและมีร่องอยู่ตรงกราง ซึ่งทำให้เกิดเส้นแนวรับหรือ neckline ขึ้นมา ยอดที่สองจะไม่ทะลุแนวระดับของยอดแรก ดังนั้นราคาจึงกลับมาทดสอบที่แนวระดับนี้อีกครั้งและพยายามที่จะทำจุดสูงสุดที่สูงขึ้นแต่ไม่สำเร็จ ราคาที่ทะลุเส้นแนวรับหรือ neckline และปิดใต้แนวราคาจะถือว่าเป็นแพทเทิร์นที่สมบูรณ์  Double top ภาพข้างบนเป็นตัวอย่างกราฟหุ้นของบริษัท สตรีมมิ่งภาพยนตร์ ที่ยืนหนึ่งใน พ.ศ. นี้อย่าง Netflix นั่นเอง โดยเป็นกราฟที่อยู่ในกรอบเวลา 1 วัน สังเกตได้ว่าจะมียอดของสามเหลี่ยมอยู่สองยอด คือ First top และ Second top โดยมีฐา
  harmonic pattern                 Harmonic pattern เป็นรูปแบบการเทรดกราฟ ที่นำเอา Fibonacci เข้ามาใช้ ควบคู่กับการนับเวฟ จาก elliott wave  = abcd โดยเป็นการผสมผสานกัน เพื่อหา PRZ (Potential Reverse Zone) หรือ จุดกลับตัวในการเข้าทำกำไร โดยกลยุทธิ์นี้จะใช้ตัวเลข  Fibonacci ที่ระดับราคาต่างกัน และพฤติกรรมราคาที่มีความเชื่อมโยงกับรูปแบบเรขาคณิตต่างๆ ในการคาดการณ์จุดที่ราคาอาจเกิดการเปลี่ยนแปลง (Price Turning Point)                  รูปแบบ harmonic pattern ตั้งชื่อตามชื่อของ Harold McKinley Gartley ผู้ที่คิดค้นทฤษฎีนี้ในรูปแบบ Gartley ขึ้นมาครั้งแรกในปี คศ. 1932 ซึ่งประกอบไปด้วย จุด  5 จุด คือ X ABCD    และต่อมาก็มีคนอื่นๆ ที่คิดค้นรูปแบบฮาร์มอนิกอื่นๆ เพิ่มขึ้น โดยบุคคลที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ Scott Carney ผู้คิดค้น Crab, Bat, Shark ฯลฯ   AB=CD คืออะไร                ABCD   คือรูปแบบหนึ่งของฮาร์โมนิคแพทเทิร์น (Harmonic Pattern) ABCD เป็นรูปแบบขั้นพื้นฐานของรูปแบบฮาร์มอนิกชนิดอื่นๆ ประกอบด้วยการแกว่งของราคา 3 ครั้ง จาก AB และ CD เรียกว่า “ขา” ในขณะที่เส้น BC เรียกว่า การย้อนก
วันนี้จะทำความรู้จัก อีกหนึ่งเครืองมือสำหรับการเทรดที่ไม่ได้มาในรูปอินดิเคเตอร์ แต่มาในรูปแบบเทียนเทียนที่แสดงผล นอกจากรูปแบบแท่งเทียน Candlestick ที่เราใช้กันปกติ ยังมีอีกรูปแบบแท่งเทียนอีกหนึ่งรูปแบบที่นิยมใช้นั้นคือ Heikin-Ashi วันนี้เราจะมาทำความรู้จัก Heikin-Ashi ไปพร้อมกัน  Heikin-Ashi คืออะไร  Heikin-Ashi (ไฮ-เค็น-อะ-ชิ) มาจากภาษาญี่ปุ่น แปลรวมกันว่า ‘average bar’ หรือ ‘แท่งเทียนเฉลี่ย’ หน้าตาของ Heikin-Ashi ก็จะเป็นประมาณนี้ โดยรูปแบบก็ยังเป้นแท่งเทียนเหมือนกับ candlestick ทั่วไปแต่หากสักเกตุ จะเห็นว่า Heikin-Ashi มีความ Smooth เพราะเนืองด้วยมีการคำนวณที่แตกต่าง candlestick ทั่วไป เพื่อการตัดทอน Noise ที่เป็นความผันผวนระยะสั้นต่างๆ โดยการนำราคา open-high-low-close ของแท่งเทียนแบบปกติมาคำนวณใหม่แล้วพล็อตบนกราฟใหม่ ผลลัพธ์ที่ได้คือกราฟที่ดูง่ายขึ้น สูตรคำนวณ Heikin-Ashi แท่งเทียน 1 แท่งเท่ากับ 1 Timeframe ที่เราเลือก เช่น ถ้าเราเลือกกราฟ Day แท่งเทียน 1 แท่งจะหมายถึงราคาที่ขึ้นลงในระยะเวลา 1 วัน จุดสำคัญของกราฟแท่งเทียนมีอยู่ 5 จุด คือ ราคาเปิด (open), ราคาสูงสุด (high), ราคาต่ำส
 -- ก่อนที่ไป False Break-out นั้นคืออะไร ต้องไปรู้จัก Break-out ก่อนว่ามันคืออะไร   Break-out    คือการที่ราคาได้มีการปรับตัวสูงกว่าหรือต่ำกว่า แนวรับแนวต้าน  เป็นการแสดงถึงความต้องการซื้อและความต้องการที่ขาย จนแนวรับแนวต้าน ไม่สามารถที่จะรับราคาได้ ตัวอย่างเช่น หุ้น a  มีราคาที่เป็นแนวต้านอยู่ที่ 9 บาท และราคาปัจจุบัน อยู่ที่ 8 บาท หลังจากนั้นราคาก็มีแรงซื้อกลับเข้ามาผลักดันราคาขึ้นไปปิดราคาที่ 10 บาท ซึ่ง มากกว่าแนวต้านที่ 9 บาท และราคาหลังจากเบรค แนวที่ 9 บาทก็มีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไปเป็น 12 บาทและ 14 บาท  เป็นต้น  False Breakout หรือ Fake Breakout หมายถึงการที่ราคาทะลุ (Breakout) ออกจากแนวรับ/ต้าน หรือ เส้นแนวโน้ม (Trend Line) ซึ่งโดยปกติ มักจะเป็นสัญญาณให้ส่งคำสั่งซื้อหรือขาย เพราะกราฟราคาที่ได้ Breakout ออกมาแล้ว มักจะเคลื่อนที่ต่อในแนวโน้มเดิม อย่างไรก็ตาม การ False Breakout คือกรณีที่ราคากลับสวนทางกับที่คาดไว้ แล้วหวนกลับเข้าแนวโน้มเดิม ส่งผลให้คำสั่งที่เปิดในช่วง False Breakout กลับขาดทุน ตัวอย่างเช่น หุ้น a  มีราคาที่เป็นแนวต้านอยู่ที่ 9 บาท และราคาปัจจุบัน อยู่ที่ 8 บาท หล
Shooting Star Shooting Star เป็นรูปแบบของกราฟแท่งเทียนที่เกิดในเทรนขึ้น Shooting star เป็นสัญญาณเตือนให้ผู้เทรดทราบว่าราคาอาจจะมีการเปลี่ยนแนวโน้มในเวลาอันใกล้นี้ ลักษณะของแท่ง Shooting star มีความคล้ายคลึงกัน Hammer เพียงแต่เกิดในด้านตรงกันข้ามกัน แท่งที่เป็น Shooting star จะมีจุดเปิดและจุดปิดของแท่งเทียนใกล้เคียงกัน (คล้าย ๆ Spinning Top) แต่จะมีหางหรือไส้ยาว ๆ บริเวณด้านบนของแท่งเทียน Shooting star ให้ภาพแก่ผู้เทรดถึงลักษณะแนวโน้มของแรงในตลาดว่า ครั้งหนึ่งเคยมีแรงขาขึ้นวิ่งขึ้นไปทำจุดสูงสุดใหม่ได้แต่ท้ายที่สุดแล้วไม่สามารถรักษาความรุนแรง ของเทรนขาขึ้นไว้ได้ ถูกดีดกลับมาปิดบริเวณใกล้เคียงกับจุดเปิดของแท่งนั่นเอง สีของแท่งไม่มีความสำคัญแต่อย่างใด ลักษณะทางทฤษฎีของ Shooting Star ตัวอย่างของกราฟจริงกับ Shooting Star รูปนี้จะเห็นได้ว่า Shooting Star ไม่ใช่รูปแบบกลับตัว เป็นเพียงแค่ตัวบอกว่ากราฟขาขึ้นกำลังจะหยุดหรือพักเพื่อไปต่อหรืออาจจะเปลี่ยนเทรน ดังนั้นการ sell จาก shooting star ทันทีที่เกืดจึงไม่ใช่วิธีที่ดีหากผู้เทรดยังไม่สามารถระบุ
แท่งเทียนประเภทคู่: Dark Cloud & Piercing Pattern Dark-Cloud Cover Dark-Cloud Cover   เป็นแท่งเทียนกลับตัวประเภทคู่   ผู้เทรดสามารถพบเห็น   Dark-Cloud Cover   ได้ในเทรนขาขึ้น   ลักษณะของ   Dark-Cloud Cover   คือ   แท่งเทียนแท่งแรกจะเป็นแท่งเทียนขาขึ้นมาก่อน จากนั้นราคาเปิดในแท่งถัดไปจะสามารถเปิดได้สูงกว่าจุดสูงสุด  ( High )  ของแท่งก่อนหน้า   แต่ตอนที่จะปิดแท่ง   แท่งที่เป็น   Dark-Cloud Cover   จะปิดตัวเองใกล้เคียงกับจุดเปิดของแท่งเทียนขาขึ้นก่อนหน้า   ยิ่งแท่งที่เป็น    Dark-Cloud Cover   สามารถปิดได้ใกล้กับจุดเปิดของแท่งเทียนขาขึ้นก่อนหน้ามากเท่าไหร่   ความเป็นไปได้ที่รูปแบบนี้จะเป็นจริงและการกลับตัวของราคาก็จะยิ่งเพิ่มขึ้นตามไปด้วย เป็นที่ถกเถียงกันสำหรับ   Dark-Cloud Cover   ว่าต้องรอให้ราคาปิดได้ต่ำกว่า  50%  ของแท่งก่อนหน้าหรือไม่   ส่วนตัวแล้ว   ถ้าแท่ง   Dark-Cloud Cover   ปิดได้ไม่ต่ำกว่า  50% ผู้เทรดก็ควรจะรอสัญญาณยืนยันจากแท่งเทียนขาลงอีกแท่งหนึ่งก็ได้ครับ ทำไมเมื่อเกิด   Dark Cloud Cover   แล้วราคาจึงลง ⁉️  คำตอบของคำถามนี้แสดงออกผ่านรูปแบ