กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ บทวิเคราะห์พิเศษSpecial Post

บทความ

หลังจากที่เราทำนำเสนอเกียวกับ การเทรดเพื่อแก้แค้นเอาคืน ไปแล้ววันนี้เราจะหาแนวทางการแก้ไขกัน ว่าแนวทางการแก้ไข้และป้องกันมีอะไรบ้าง แนวทางการแก้ไข การเทรดเพื่อแก้แค้นเอาคืน😀 1.สติ😀 เมื่อเกิดแพ้นั้นสิ่งที่ต้องมีนั้นคือ การมีสติ โดยวิธีการง่ายสุดนั้น คือ นั่งสูดหายใจลึกๆๆ ก็จะช่วยให้เรานั้นใจเย็นลง หรือ ถ้าไม่ดีขึ้น ให้ลุกไปทำอย่างอื่นก่อน ไปคิดเรื่องอืนก่อน  2. ไม่มีระบบใหนในโลกชนะตลาด 100  เปอร์เซ็น😌 ต้องเข้าใจว่าเรานั้นไม่สามารถที่จะชนะได้ทุกไม้ หรือทุกออเดอร์ได้ ต่อให้ระบบเทรดขนาดใหนก้ตาม ฉนั้นการแพ้นั้นก็คือเรื่องปกติในการเทรด แพ้ได้  3 กลับไปโฟกัสที่แผนการของเรา 📊 แผนการนั้นสำคัญมาก เพราะมีคือ GPS นำทางเราไปยังเป้าหมายของเรา  4.เปลี่ยนคาดหวังจากตัวเงินมาเป็นการคาดหวังการทำตามระบบ 💭 เพราะหลายคิดแต่เรื่องเงิน และอยากเอาคืนมาอย่างเดียวและอยากได้จนเกิดความโลภและอารมณ์ในการเทรด แต่ถ้าเราเปลี่ยนจากการคาดหวังเรื่องเงินมาเป็นคาดหวังว่าออเดอรต่อไปจะทำตามระบบ 100 % จะดีว่า โดยไม่ต้องสนว่าไม้นั้นจะแพ้หรือชนะ ถ้าเราทำตามแผน 100%  ถือว่าไม้นั้น เราประสบความสำเร็จ  5. ลดการมองจอ หรือเฝ้ากรา
หลังจากที่เราได้รู้ถึงความสำคัญของการจดบันทึกการเทรดหรือ Trading Diary ไปแล้ว วันนี่เราก็จะมาเสริมว่า Trading Diary ควรจดอะไรลงบ้าง  Trading Diary ที่ดีควรจดอะไรบ้าง 📝 1.ซื้อหุ้นอะไร? หรือ สินค้าที่เทรด  2.วันเวลาที่ซื้อขาย เพื่อให้ย้อนกลับมาดูได้  3.เหตุผลที่ตัดสินใจซื้อ-ขาย หรือระบบที่ใช้ในการเทรด เงื่อนไขในการเทรด  4.ขนาดออเดอร์ ที่ซื้อขาย Lot 5.ราคา take profit และ stoploss หรือ  RRR 6.ผลกำไร ผลขาดทุน (Realized P/L) กำไรก็ต้องจด ขาดทุนยิ่งต้องจด ยิ่งเจ็บ ก็ยิ่งต้องจำ 7.ระยะเวลาที่ถือหุ้น (Hold)  8.อารมณ์ ความรู้สึก ณ ตอนที่ ซื้อ-ขาย นี้น่าจะเป็นจุดสำคัญมากของการบันทึก Trading Diary     Trading Diary ควรทำในใหน  📝 ถ้าให้ดีสุดก็น่าจะเป็นตาราง excel เราก็จะได้เห็นการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนมากขึ้น ร่วมไปถึงสามารถ ทำการคำนวณ win rate หรือ loss  rateได้อย่างชัดเจน  📝 สรุป เราสามารถที่เพิ่มหรือลดได้ให้เข้ากับระบบเทรดของเรา แต่สิ่งที่ขาดไม่ได้นั้นคือ อารมณ์ ความรู้สึก ณ ตอนที่ ซื้อ-ขาย เพราะเป็นเรื่องที่จำเป็นมากในการเทรด 📝Trading Diary ที่ดีควรจดอะไรบ้าง ? ep.1 cr.อ่านเพิ่มเติม https://
  Scalping กับ Sniper เหมือนหรือแตกต่างกัน???                หลายๆคนคงเคยยินได้กันมาหนาหูแล้วกับ2 คำนี้ ระหว่าง  Scalping กับ Sniper และบางคนหรือหลายคนก็มัก จะคิดว่ามันเหมือนกัน จริงๆแล้วมันก็เหมือนกันนั่นแหละแต่ไม่เหมือนกันหมดสะทีเดียว เรียกว่าคล้ายแต่แตกต่างจะดีกว่า  วันนี้แอดจะมาไขข้อข้องใจให้เหล่าเทรดเดอร์ที่บังเอิญ มา เอ๊ะ !!! กับ 2 คำนี้ ว่ามันเหมือนหรือแตกต่างกันยังไง SCALPING                 -  Scalping คือ การเทรดทำกำไรในระยะสั้นๆ เก็บกำไรในระยะ 100-200 จุด  การออกออเดอร์แต่ละครั้งไม่ใหญ่มาก คิดเป็นสัดส่วนเพียง 1-2% ในการทำกำไรแต่ละครั้ง  และเน้นการเข้าบ่อย เข้าถี่ๆ เล็กสั้นขยันซอยไม้ ก็รวยได้ อิอิอิ    ส่วนมาก นิยมเล่นตามเทรน เป็นรอบๆ ตาม volatility ของตลาด  หรือบางทีอาจจะเล่นสวนเทรนก็ได้เหมือนกัน                 -รูปแบบนี้ เหมาะกับทุกเพศทุกวัยที่มีเงินทุนตั้งแต่น้อยไปถึงมากและชื่นชอบการเทรดสั้นๆ จบในวันไม่ดอย ไม่ลาก ไม่ถือกำไรนาน ไม่ชอบเฝ้ากราฟ แต่ชอบเทรดบ่อยๆ ติดเทรด ก็ว่ากันไป   SNIPER                - Sniper คือ การเทรดทำกำไรในระยะสั้นๆ  เก็บกำไรในระยะ 10-50 จุด ในการอ
-- หลังจากที่เรานำเสนอเว็บ  ตัวเลขเศรษฐกิจ ยอดนิยมอย่าง Forexfactoryไปแล้ว  วันนี้เราจะมานำเสนอเว็บยอดนิยมที่อีกหนึ่งเว็บในการแสดงตัวเลขเศรษฐกิจ นั้นคือเว็บ  Investing.com ซึ่งเป็นเว็บที่รองรับภาษาไทยโดย Investing.com เป็นแพลตฟอร์มที่ให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับตลาดการเงินแบบเรียลไทม์ ราคาซื้อขายล่าสุด กราฟ เครื่องมือทางการเงิน ข่าวสาร และบทวิเคราะห์สำหรับตลาดแลกเปลี่ยนจำนวน 250 แห่งทั่วโลก และครอบคลุมตราสารทางการเงินกว่า 300,000 รายการ โดยที่มีการให้บริการเว็บไซต์จำนวน 44ภาษา รวมทั้งภาษาไทย ด้วยจำนวนผู้ใช้เว็บไซต์ในแต่ละเดือนมีจำนวนมากกว่า 21 ล้านคนและการเข้าใช้เว็บไซต์กว่า 180 ล้านครั้ง จึงทำให้ Investing.com เป็นหนึ่งในสามอันดับแรกของเว็บไซต์การเงินระดับโลกตามการจัดอันดับของทั้ง SimilarWeb และ Alexa  วิธีการดู ตัวเลขเศรษฐกิจ บน Investing.com โดยวืธีการเข้าถึง ตัวเลขเศรษฐกิจ เริ่มต้นเข้า เว็บ Investing.com หลังจากนั้นเลือก ภาษา โดยคลิกที่มุมหน้าจอทางขวาสุด จะเห็นรูปธงชาติ  โดยเราสามารถที่เลือกภาษาได้มากถึง 44 ภาษา ให้เลือกภาาษาไทย ให้เคลิกเลือก เครื่องมือ หลังจากนั้นเราก็  ปฏิทินเศรษฐกิ
  Price Action รูปแบบที่อ้างอิงรูปแบบของแท่งเทียนโดยมีการกำหนดรูปแบบมาเพื่อบอกว่าสถานะปัจุบันของราคานั้นเกิดอะไรขึ้น เพื่อใช้เป็นรูปแบบการเข้าทำกำไร เป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยมสูง เนืองด้วยเป็นการบอกสัญญาณที่รวดเร็วไม่ได้ผ่านกระบวนการคำนวณทางคณิตศาสตต์ ซึ่งรูปแบบ  Price Action ก็มีมีหลายสิบรูปแบบ แต่วันนี้เราจะคัดเฉพาะที่ได้ความนิยม และเกิดขึ้นบ่อย TOP 3 ของ Price Action  คำแนะนำการใช้งาน Price Action   ต้องใช้งานร่วมกับแนวรับแนวต้าน  ใช้ Price Action  อย่างเดียวในการเทรด มีความเสี่ยงสูงถ้าไม่เช้าอารมตลาดทั้งหดม  ทั้งนี้อาจใช้  Price  Action ร่วมกับ Indicator  หรือ Price Patterns เพือเพิ่มความแม่นย้ำ  ต้องมีความรู้เรื่องเทรน เพือหาจุดตำแหน่งในการเข้าที่เปรียบ   3 Price Action ยอดนิยม และเกิดขึ้นบ่อย  1.เอ็นกัลฟิง (Engulfing)  สัญญาณขาขึ้น -จะประกอบไปด้วยแท่งเทียนสองแท่ง โดยแท่งที่สองจะมีความยาวปกคลุมทั้งจุดต่ำสุดและสูดสูงสุดของแท่งเทียนก่อนหน้า เมื่อกราฟเป็นแนวโน้มขาลง แล้วเกิดรูปแบบ เอ็นกัลฟิง (Engulfing) แท่งที่สองปกคลุมโดยสมบูรณ์แบบ เป็นสัญญาณขาขึ้น ให้เทรดเดอร์หาจังหวะเข้าเทรดในฝั
การใช้  Bollinger band  ควบคู่ไปกับ  Relative Strength Index  และ  Stochastic Slow  ในตลาดฟอเร็กซ์ บทความนี้ได้มีเพื่อนผมคนนึงครับ บอกให้ผมช่วยหา "Indicators" ที่ใช้ควบคู่กับ  Bollinger Band  หน่อย  ซึ่งตอนนั้นผมก็ตอบเพื่อนคนนี้อย่างรวดเร็วไปว่า "เออ ใช้กับ Stochastic Slow ว่ะ"ซึ่งผมยังไม่ได้บอกมันเลยครับว่า"ผมไม่ได้บอกทั้งหมดว่าใช้กับ RSI ได้ด้วย"  แต่ว่าใช้ได้เหมือนกัน เพียงแต่  Stochastic  บอกสัญญาณที่เร็วกว่า Relative Strength Index (Rsi)   Oscillators ที่บอกสัญญาณได้เร็วอันดับแรกก็คือ Commodity Channel Index (CCI) และรองลงมาก็คือ   Stochastic   สองตัวนี้จะเหมาะสมกับกราฟพักตัว หรือที่เรียกว่ากราฟไซเวย์ (Sideway) นั่นเอง  เพราะฉะนั้น : อย่าได้ใช้อินดิเคเตอร์สองตัวนี้ในการเล่นกราฟที่มีแนวโน้มไปทางเดียวเด็ดขาด เพราะคุณอาจจะถูกหลอกว่ามัน  Over Bought   ( OB = ภาวะตลาดมีแรงซื้อเยอะเกิน ) ในช่วงขาขึ้น และภาวะตลาดที่มีแรงขายเยอะเกิน ( Over Sold ) ช่วงนี้จะเป็นช่วงที่นักลงทุนตกใจ อย่าพยายามคิดว่า "มันสุดแล้วนี่หน่า Sell ดีกว่า&quo
ย้อนกลับไปในปี 1920-30s มีอัจฉริยะด้านการบัญชีคนหนึ่งชื่อ  Ralph Nelson Elliott   (ราฟ เนลสัน เอลเลียต)  ได้ทำการวิเคราะห์วิจัยตลาดหุ้นอย่างใกล้ชิด กับข้อมูลบน 75 ปี ของ ตลาดหุ้น เขาพบว่า ตลาดหุ้นนั้น มีพฤติกรรมที่การเคลื่อนไหวของราคาที่ไร้รูปแบบ ซึ่งปกติไม่ได้เป็นแบบนั้น  ‼️ เมื่อเขาอายุ 66 ปี เขาได้หลักฐานสุดท้ายที่ทำให้มั่นใจในการค้นพบของเขา เข้าตีพิมพ์ทฤษฎีลงหนังสือ  ชื่อ The Wave Principle .  เขาบอกว่า ตลาดนั้นมีการเทรดเป็นลักษณะวงจรที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ กัน  ซึ่งสาเหตุนั้นมาจาก อารมณ์ของนักลงทุน ที่ส่งผลมาจากปัจจัยต่าง ๆ กัน เช่น (ข่าวใน CNBC Bloomberg, ESPN ) หรือ ข่าวที่มีผลต่อจิตวิทยา ของนักลงทุน เวลานั้น ๆ อธิบายว่า การสวิงขึ้นลง↕️ ของทิศทางราคา สาเหตุนั้นเกิดจากพฤติกรรมทางจิตวิทยา ซึ่งแสดงออกมาในรูปแบบเดิม ๆ ซ้ำ ๆ เสมอ ๆ  👍 👍 👍 เขาเรียกการสวิงขึ้นลง  ↕️  ของราคาในลักษณะนี้ว่า คลื่น หรือ Waves เขาเชื่อว่า ถ้าเราสามารถวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมราคาที่เกิดซ้ำ ๆ ได้ ก็จะสามารถทำนาย ทิศทางราคาได้ ว่ามันจะไปทางไหน (หรือว่าไม่เคลื่อนไหว) ต่อไป 👏