กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ ทฤษฎี Elliott Wave

บทความ

 Elliott Wave + RSI วิธีนับคลื่นร่วมกับ RSI                     👋 บ่อยครั้งที่เราได้ยินเกี่ยวกับการนับคลื่น ที่แลดูมันเหมือนจะไม่เคยจบ เพราะมันจะมีคลื่นลูกใหม่ๆมาต่อๆกันเป็นคลื่นลูกที่ใหม่กว่า และใหม่กว่าไปเรื่อยๆไม่รู้จบ  สร้างความมึนงงให้กับเราไม่น้อย จริงมั้ย?? วันนี้แอดมีทริคเล็กๆน้อยๆและแนวทางการนับคลื่นง่ายๆ มาฝากกัน  มาครับ มาติดตามอ่านกัน                          👋 การนับคลื่น  Elliott Wave ไม่ยากอย่างที่คิด เพียงแค่คุณนำ RSI  (ค่ามาตรฐาน)มาใส่ควบคู่ลงไปในกราฟ  เราจะเริ่มเห็นเส้นยึกๆยักๆ มากขึ้นที่ทำให้ดูง่ายในการแยกแยะคลื่นแต่ละลูก                          1. ให้มองหาจุดสูงสุด และจุดต่ำสุดของแท่งเทียนก่อน                           2.ตีเส้นแนวรับ แนวต้าน โดยแบ่งสีเส้น แนวรับสีส้ม  เส้นแนวต้านสีฟ้า(สีอะไรก็ได้ที่ชอบ)                         3.ทีนี้เริ่มง่ายแล้วครับ  จากนั้นค่อยตีเส้นเทรนไลน์เพิ่มเข้าไป เพื่อล๊อคกรอบคลื่น                         4 .เมื่อเราได้กรอบคลื่นจากเส้นเทรนไลน์ ก็นับคลื่นกันเลยครับ                          จากรูป ลักษณะการวิ่งเป็นแบบไซด์เวย์ สูตรการนับจะเ
TD Sequential  การนับแท่งเทียนทำกำไรจากจุดกลับตั ว  EP.1 TD Sequential  จัดเป็นเครื่องมือที่ใช้ประกอบการตัดสินใจในการเทรด ที่จัดว่าค่อนข้างดังและดีเลยทีเดียว เครื่องมือการเทรดตัวนี้ถูกคิดค้นโดย Tom DeMark ซึ่งเป็น Indicator ประเภท Market timing ความสามารถของเครื่องมือนี้ค่อนข้างจะหลากหลาย  โดยสามารถใช้ดูแนวโน้มการแกว่งตัวของราคา และหาจังหวะในการเข้าเทรด หรือเรียกง่ายๆให้เข้าใจได้ก็คือ การนับแท่งเทียนทำกำไร จากจุดกลับตัวของราคาแท่งเทียนนั่นเอง และที่เด็ดดวง ไปยิ่งกว่านั้นก็คือ ไอ่เจ้า TD Sequential นี้เหมาะมากๆ กับเทรดเดอร์สาย ฟิวเจอร์และออปชั่น หากใครเป็นเทรดเดอร์สายนี้ละก็ ต้องจดเอาไว้นะ ของเค้าดีจริงๆ มา มาดูกัน TD Sequential จะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ     1.  TD Setup (นับ 1-9)   2.  TD Countdown (นับ 1-13) โดยลักษณะการเกิดจะต้องไล่กันมาเป็นสเต๊ปตามนี้ 👇👇👇  Price Flip     🔜🔜🔜   TD Setup     🔜🔜🔜   TD Countdown  1. TD Setup (นับ 1-9) TD Setup จะเป็นการนับแท่งเทียน 1-9 โดยในการเริ่มต้นนับแท่งที่ 1 จะเริ่มจากเกิด Price Flip และแท่งเทียนที่นิยมใช้กันมักจะเป็น บาร์ชาร์ต แต่แบบแท
   Corrective Waves สังเกตุดีๆมีกำไรเห็นๆ ( Elliott Wave)                             หลายคนคงเคยได้ยิน คำว่า  Elliott Wave มาบ้างแล้ว Elliott Wave เป็น ทฤษฏีที่ใช้สำหรับ วิเคราะห์ตลาดจากการนับคลื่น  แต่น้อยคนนักที่จะเข้าใจพฤติกรรมของมันจริงๆ ส่วนใหญ่แล้ว คลื่นพวกนี้เกิดจาก พฤติกรรมการซื้อขายของคนหมู่มากในตลาดการเงินระดับโลกที่ทำให้เกิดเทรนแนวโน้มและชี้ชัดทิศทางการไปของราคา  โดยจะมีวิธีการ นับคลื่น  โดยคลื่นหลักๆ จะมี5 คลื่น ซึ่ง 5 คลื่นนี่แหละ ก็จะมีคลื่นย่อยเล็กๆอีก จากตอนแรกที่มีแค่  5คลื่น ก็ต่อยาวไปอีกเป็น 6 7 8 คลื่นและก็อาจจะยาวต่อไปอีก เป็น 8 9 10  ไปเรื่อยๆ เรียกได้ว่า อีเลียตเวฟไม่เคยสิ้นสุดจริงๆ แล้วเราจะสังเกตุอย่างไรดีละ                 วันนี้แอดจะมาแนะแนวทางในการนับคลื่นและจับสังเกตุคลื่นเล็กหรือคลื่นย่อยๆในอีเลียตเวฟกัน ซึ่งเจ้าคลื่นย่อยนี่แหละ ที่คนส่วนใหญ่เรียกกันว่า  Corrective Waves แล้ว คอลเลคทีฟเวฟ คืออะไรละ มันดียังไง แอดจะมาแนะนำให้อ่านกัน    Corrective Waves  เรียกให้เข้าใจง่ายๆว่าเป็น คลื่นสำหรับขาลงระยะสั้น แต่....หากเทรนใหญ่เป็นเทรนขาลง ไอ่เจ้า  Correct
การใช้  Bollinger band  ควบคู่ไปกับ  Relative Strength Index  และ  Stochastic Slow  ในตลาดฟอเร็กซ์ บทความนี้ได้มีเพื่อนผมคนนึงครับ บอกให้ผมช่วยหา "Indicators" ที่ใช้ควบคู่กับ  Bollinger Band  หน่อย  ซึ่งตอนนั้นผมก็ตอบเพื่อนคนนี้อย่างรวดเร็วไปว่า "เออ ใช้กับ Stochastic Slow ว่ะ"ซึ่งผมยังไม่ได้บอกมันเลยครับว่า"ผมไม่ได้บอกทั้งหมดว่าใช้กับ RSI ได้ด้วย"  แต่ว่าใช้ได้เหมือนกัน เพียงแต่  Stochastic  บอกสัญญาณที่เร็วกว่า Relative Strength Index (Rsi)   Oscillators ที่บอกสัญญาณได้เร็วอันดับแรกก็คือ Commodity Channel Index (CCI) และรองลงมาก็คือ   Stochastic   สองตัวนี้จะเหมาะสมกับกราฟพักตัว หรือที่เรียกว่ากราฟไซเวย์ (Sideway) นั่นเอง  เพราะฉะนั้น : อย่าได้ใช้อินดิเคเตอร์สองตัวนี้ในการเล่นกราฟที่มีแนวโน้มไปทางเดียวเด็ดขาด เพราะคุณอาจจะถูกหลอกว่ามัน  Over Bought   ( OB = ภาวะตลาดมีแรงซื้อเยอะเกิน ) ในช่วงขาขึ้น และภาวะตลาดที่มีแรงขายเยอะเกิน ( Over Sold ) ช่วงนี้จะเป็นช่วงที่นักลงทุนตกใจ อย่าพยายามคิดว่า "มันสุดแล้วนี่หน่า Sell ดีกว่า&quo
ย้อนกลับไปในปี 1920-30s มีอัจฉริยะด้านการบัญชีคนหนึ่งชื่อ  Ralph Nelson Elliott   (ราฟ เนลสัน เอลเลียต)  ได้ทำการวิเคราะห์วิจัยตลาดหุ้นอย่างใกล้ชิด กับข้อมูลบน 75 ปี ของ ตลาดหุ้น เขาพบว่า ตลาดหุ้นนั้น มีพฤติกรรมที่การเคลื่อนไหวของราคาที่ไร้รูปแบบ ซึ่งปกติไม่ได้เป็นแบบนั้น  ‼️ เมื่อเขาอายุ 66 ปี เขาได้หลักฐานสุดท้ายที่ทำให้มั่นใจในการค้นพบของเขา เข้าตีพิมพ์ทฤษฎีลงหนังสือ  ชื่อ The Wave Principle .  เขาบอกว่า ตลาดนั้นมีการเทรดเป็นลักษณะวงจรที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ กัน  ซึ่งสาเหตุนั้นมาจาก อารมณ์ของนักลงทุน ที่ส่งผลมาจากปัจจัยต่าง ๆ กัน เช่น (ข่าวใน CNBC Bloomberg, ESPN ) หรือ ข่าวที่มีผลต่อจิตวิทยา ของนักลงทุน เวลานั้น ๆ อธิบายว่า การสวิงขึ้นลง↕️ ของทิศทางราคา สาเหตุนั้นเกิดจากพฤติกรรมทางจิตวิทยา ซึ่งแสดงออกมาในรูปแบบเดิม ๆ ซ้ำ ๆ เสมอ ๆ  👍 👍 👍 เขาเรียกการสวิงขึ้นลง  ↕️  ของราคาในลักษณะนี้ว่า คลื่น หรือ Waves เขาเชื่อว่า ถ้าเราสามารถวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้องเกี่ยวกับพฤติกรรมราคาที่เกิดซ้ำ ๆ ได้ ก็จะสามารถทำนาย ทิศทางราคาได้ ว่ามันจะไปทางไหน (หรือว่าไม่เคลื่อนไหว) ต่อไป 👏