บทความ

ตัวอย่างการเขียน EA เพื่อเปิด Order โดยครอบคลุมทั้ง BUY และ SELL การเขียนโปรแกรมที่ดีควรเขียนแยกการทำงานออกเป็นส่วนๆหรือที่เรียกว่าฟังก์ชั่น เพื่อให้ง่ายต่อการวิเคราะห์ในการหาข้อผิดพลาดจากการทำงานของโปรแกรม การเขียน EA ก็เหมือนกัน ถ้าเราเขียนโดยแยกออกเป็นฟังก์ชั่นก็จะทำให้ง่ายต่อการแก้ไขปรับปรุง ในกรณีที่เราต้องการปรับเปลี่ยนเทคนิคในการเทรด      มาดูฟังก์ชั่นในการเปิด Order ซึ่งเป็นฟังก์ชั่นหลักฟังก์ชั่นหนี่งของ EA ก็ว่าได้ เพราะถ้าฟังก์ชั่นนี้ทำงานผิดพลาดนั่นหมายถึงหายนะกำลังมาเยือน เพราะฉะนั้นต้องมั่นใจว่าฟังก์ชั่นนี้จะไม่ทำงานผิดพลาด ไม่ว่าสถานการณ์ของตลาดจะผันผวนก็ตาม /* ฟังก์ชั่นนี้จะทำงานเมื่อมีสัญญาณมาจากฝั่ง Server */ int start(){ /* เมื่อเราตรวจสอบราคาด้วยอินดิเคเตอร์ใดๆแล้ว แล้วถึงจุดที่ต้องการเปิด Order */ /* ยกตัวอย่าง ถ้าต้องการเปิด ORDER BUY และ Lotsize เท่ากับ 1 openOrder(OP_BUY,1); /* ยกตัวอย่าง ถ้าต้องการเปิด ORDER SELL และ Lotsize เท่ากับ 1 openOrder(OP_SELL,1); return(0); } /* ฟังก์ชั่นสำหรับเปิด Order bool openOrder(int cmd,double lot,double tp=0.0) { int ticket,cou
รู้สักนิดก่อนเขียน EA - ราคาการซื้อและขายของ BUY กับ SELL สิ่งหนึ่งที่ผู้เขียน EA หรือแม้แต่ผู้เทรด Forex ต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเปิด Order ก็คือ ต้องรู้ว่า  Order Buy  ซื้อที่ราคา Ask ขายที่ราคา Bid Order Sell   ซื้อที่ราคา Bid ขายที่ราคา Ask แล้วอย่างไง ?? สมมติว่าเรามี Order Buy อยู่ในมือและราคาปัจุบันอยู่ที่ 1.6100 และเราคิดว่าเราจะเขียน EA เพื่อ Modify Order นี้เพื่อตั้ง TP (Target Profit) ให้ Order นี้ปิดที่ราคา 1.6150 ซึ่ง Order นี้เป็น Order Buy ราคา 1.6150 จึงเป็นราคา Ask แต่เราต้องปิดที่ราคา Bid เพราะฉะนั้น  ราคาที่จะทำให้ Order นี้ปิดก็คือ  1.6150 + Spread  (ค่า Spread คือค่าความต่างระหว่างราคา Ask กับ ราคา Bid ซึ่งค่า Spread นี้จะมีความต่างไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับคูเงินที่เราเทรด และขึ้นอยู่กับโปรกเกอร์หรือลักษณะของบัญชีที่เราเปิด แต่ในการเขียน EA เพื่อคำนวณหาค่านี้จะเขียนเหมือนกันคือ Ask -Bid                      double TP;           bool result;            TP = 1.6150 + (Ask-Bid);           result= OrderModify (OrderTicket(),OrderOpenPrice(),0, TP .0,0,CLR_NONE); ตัวฟัง
เริ่มต้นเขียน EA จะซื้อ-ขายต้องเขียนอย่างไร  สำหรับมือใหม่อาจจะมองภาพของการทำงานของ Expert Advisor (EA) ไม่ออกว่ามันเริ่มต้นการทำงานของโค๊ดที่เราเขียนอย่างไร ผมขออธิบายคร่าว ๆ ก่อน เพื่อใช้เป็นพื้นฐานก่อนที่เราจะเริ่มเขียนคำสั่งซื้อ (Buy) และ ขาย (Sell)      ถ้าเราสร้างไฟล์ EA ขึ้นมาใหม่เราจะเห็นว่ามีฟังก์ที่สร้างมาให้อัตโนมัติ มาดูกันนะครับว่ามีอะไรบ้างแล้วแต่ละส่วนมีไว้ทำอะไร     /* ส่วนนี้เป็นการประกาศฟังก์ชัน ชื่อฟังก์ชันคือ init */     /* int (integer - เลขจำนวนเต็ม) หน้าชื่อฟังก์ชั่น คือชนิดของค่าที่ส่งกลับคืน หลังจากทำงานในฟังก์ชันนี้แล้ว */     int init () {             /* ฟังก์ชันนี้เป็นฟังก์ชั่นหลักของ EA ซึ่งจะทำงานเมื่อเริ่มต้น EA ครั้งแรก */             /* ถ้าเรามีตัวแปรไหนที่ต้องการให้มีการกำหนดค่าก่อนที่จะเริ่มการทำงานของ EA เราก็สามารถมากำหนดในฟังก์ชันนี้ได้ */         /* ส่งค่า 0 กลับคืน */         return(0);     }     /* ฟังก์ชันนี้ชื่อ deinit คืนค่ากลับเป็น int พอมองออกรึยังครับ */     int deinit () {         /* ฟังก์ชั่นจะทำงานอัตโนมัติเหมือนฟังก์ชั่น init แต่ต่า
EA เขียนด้วยภาษาอะไร ? MetaQuotes Language 4 (MQL4)  เป็นภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้สำหรับเขียนโปรแกรมที่ใช้การเทรด ช่วยให้เราสร้างและจัดการการซื้อขายโดยอัตโนมัติด้วยตัวเอง ซึ่งในการเขียนเจ้า EA นี้สามารถทำการเขียนใน  MT4  ที่เราใช้เทรดนั่นเอง โดยเลือกไปที่เมนู  Tool->MeataQuotes Language Editor     จากนั้นเริ่มเขียน  EA  ได้เลย     เมื่อเขียนเสร็จแล้วก็ทำการ  Compile  โดยไปที่เมนู  File->Compile  ตอนนี้ EA ที่เราเขียนก็พร้อมที่จะนำไปใช้งานแล้ว ที่มา http://onlinemakeemoney.blogspot.com
ตอนนี้คุณก็พร้อมที่จะครองโลกฟอร์เร็กซ์แล้ว คุณพร้อมที่จะเกษียณ อีกไม่กี่ปี แล้วไปเที่ยวรอบโลกไปกับเครื่องบินส่วนตัว ใช่ไหม? คิดอีกที ไม่ดีกว่า ! คุณฝันสลาย แต่อย่างน้อยก็ได้ฝัน ใกล้แล้ว เราบอกไว้ตั้งแต่เริ่มแล้วว่า มันไม่ใช่เรื่องง่าย ถ้าเพิ่งเทรดใหม่ คุณอาจจะเทรดได้น่ากลัว ไม่มีใครเป็นมืออาชีพตั้งแต่แรก ทุกคนต้องเรียนรู้ และต้องใช้เวลา คุณถึง จะรู้ถึงคุณค่าของมัน การเดินดุ่ม ๆ เข้าไปเทรดด้วยบัญชีจริงเลย เหมือนกับ ลงไปแข่งบาส NBA หลังจากที่ เพิ่งจะอ่านคู่มือ การเล่น บาสเกตบอล "Basketball for Dummies" คุณยังไม่ฉลาด ยังไม่แข็งแรง และยังควบคุม อะไรได้ไม่ดี คุณยังไม่ได้พัฒนาทักษะ หรือ จิตใจ ร่างกาย เพียงพอ ที่จะสู้ กับ มืออาชีพหรอก ? เหมือนกับที่ คุณกำลังเข้ามาในตลาด โลกแห่งค่าเงินนั้น ไม่แน่นอนและซับซ้อน มีคนที่สุดโต่ง อยู่ในตลาด เต็มไปหมด บางคนจบด็อคเตอร์ บางคนจบ ปริญญาโท บางคนจบจาก โรงเรียนชั้นนำ ที่มีเงินเยอะ และบางคนมีเครื่องมือเทคโนโลยีชั้นสูง เมื่อคุณเข้ามาในโลกของฟอร์เร็กซ์ คุณต้องพร้อมที่จะดำผุดดำว่าย ปล้ำกับฉลามเหล่านี้ และพวกมันชอบกินเหยื่ออย่างเรา ๆ
3 กุญแจสำคัญ ในตลาดที่ต้องใส่ใจ เมื่อเทรดฟอร์เร็กซ์ นักเทรดฟอร์เร็กซ์ ทั้งมือใหม่และมืออาชีพ นั้น จะให้ความสาคัญในเรื่องกลยุทธ์การเทรดเกี่ยวกับการใช้ เครื่องมือ Indicator เช่น Moving Averages และ เส้นเทรนด์ไลน์ เมื่อเทรดยูโร หรือ เงินปอนด์ พวกเขาไม่ค่อยดูทิศทาง อย่างอื่นประกอบในการตัดสินใจในการเทรด แต่ว่า ปัจจัยอื่น ๆ เหล่านี้ บางครั้งก็สามารถเป็นกุญแจสำคัญ ในการ ทำกำไรได้ และส่งผลต่อการขาดทุนของคุณในตลาดฟอร์เร็กซ์ได้เช่นกัน หลายปีมานี้ ผู้จัดการกองทุนมืออาชีพ ได้ใส่ใจกับตลาดอื่น ๆ เพื่อมายืนยันทิศทางในการเทรด และยังใช้โปรแกรม ที่รุดหน้า ด้วยความที่เป็นมืออาชีพของพวกเขานั้น สามารถเห็นความสัมพันธ์ระหว่างตลาด ซึ่งเปิดเผยให้เห็นถึง การเคลื่อนไหวของการลงทุน ที่ไปในทิศทางเดียวกัน หรือ ทิศทางแตกต่างกัน ความสัมพันธ์เหล่านี้เรียกว่า ค่า Correaltion ที่เกิดขึ้นในตลาดเหล่านี้ เช่น น้ำมันดิบ ดัชนีดอลล่าร์แคนาดา ราคาฟิวเจอร์ทองคำ และ ดัชนีค่าเงิน ดอลล่าร์ออสเตรเลีย และ ตัวอย่างอื่น ๆ เช่น เงินเยนเมื่อเทียบกับดอลล่าร์ หรือแม้แต่ พันธบัตรระยะสั้น ของรัฐบาลญี่ปุ่น มาดูว่า ตลาดอื่นนั้นมีคว