กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ traderider

บทความ

จากลองสังเกต bollinger band มาได้ซักระยะหนึ่งครับ งั้นวันนี้เรามาทำความรู้จักกันอินดี้ตัวนี้กันก่อนเลย มีส่วนประกอบดังนี้(ตามหมายเลขในภาพ) 1. เส้นขอบบน เรียกว่า Upper band (สีแดง) 2. เส้นขอบล่าง เรียกว่า Lower band (สีน้ำเงิน) 3. เส้นกลาง เรียกว่า Middle band (สีทอง) กราฟแท่งเทียน (ในภาพเป็นแท่งละ 1 วัน) จากนั้นลองมาลองดูว่ามีอะไรที่สนใจกับอินดี้ตัวนี้บ้างครับ  ผมใช้ค่า Default ของ Indicators พอจับใส่ในกราฟแล้วก็จะเห็นขอบบน ขอบล่าง และเส้นกลาง จากตัวอย่าง TF D1ที่เห็นตรงสี่เหลี่ยมสีน้ำเงินก็คือการ Breakout  ออกจากขอบบนหรือหรือล่าง เมื่อเกิดการ Breakout โดยที่ราคาเปิด และปิด อยู่นอกขอบจะเกิดการกลับตัวของราคาครับ  ลองดูครับใช้ได้เกือบทุกๆ TF ส่วนที่ผมดูคือ M15-MN ตัวอย่างของ TF H4 ตัวอย่างของ TF H1 ตัวอย่างของ TF M15 ก็ประมาณนี้ครับ อย่าลืมรอราคา เปิดและปิดของแท่งเทียน ออกจากขอบก่อน นะครับจะได้ชัว ส่วน SL ตั้งไวห่างจากหางของแท่งสัญญาณ 10Pip TP ต้องวัดด้วย Fibo ครับลองอ่านจากลิ้งที่ท่าน Admin ของเราเคยโพสไว้ได้เลยครับ หวังว่าจะมีประโยชน์สำหรับเพื่อนๆช
   มาเข้าเรื่องกันเลยดีกว่า ขอแค่จำกฏพื้นฐานของทฤษฏีนี้ให้ได้ และฝึกฝนมองบ่อยๆ จะเห็นการเคลื่อนไหวของราคา และ วางแผนการเทรดได้ดียิ่งขึ้น ข้อสำคัญคือ อย่า over trade เด็ดขาดนะครับ  อย่ารีบรวยเร็ว สร้างฐานให้มั่นคงดีกว่า ส่วนเรื่องวิธีการผมจะค่อยๆแทรกในหัวข้อถัดไปนะครับ จะพยายามแชร์ให้เต็มที่ในส่วนที่ผมรุ้ ถ้าใครมีอะไรเพิ่มเติม แนะนำกันได้นะครับ ว่าด้วยกฏของทฤษฏีนี้ไม่มีอะไรมาก มีแค่ 3 ส่วน คือ   1. แนวโน้มขาขึ้น   (   up trend   )  2. แนวโน้มขาลง    ( down trend )  3. แนวโน้มออกข้าง  (  side way   )      ซึ่งตลาดจะมี 3 ช่วงนี้อยุ่เสมอ ซึ่งผมจะกล่าวถึงแบบทีล่ะ แนวโน้มในหัวข้อถัดไปนะครับ      1.     รูปแบบแนวโน้มขาขึ้น Up trend               กฎของแนวโน้มขาขึ้น คือ  ทำ hi ที่สูงขึ้น  และ ทำ Low ที่สูงขึ้น   จากในรูป คือ  H1 H2 H3  และ L1 L2 L3 จะสูงขึ้นจากจุดเดิม เสมอ              จากรูปกราฟจริง  จะเห็นว่า มีการทำ HI ที่สูงขึ้นและ Low ที่สูงขึ้นอยุ่เสมอ  แต่ในกราฟจริงจะเหมือนตัวอย่าง อันนี้ต้องฝึกมองบ่อยๆ  ซึ่งจะกล่าวในตอนต่อไป               2.       รูปแบบแนวโน้มขาลง  Down t
ลองมาดูกันว่าจะแก้ไม่อย่างไรเมื่อผิดทาง....!? สมมุติว่าเราเข้าออเดอร์แรกไป sell 0.1 lot แล้วผิดทางก็คือแทนที่จะบวกแต่กลับกลายเป็นลบนั้นละครับ จากนั้นก็ให้เราตั้ง Buy Stop ไว้ด้านบนครับโดยห่างจากออเดอร์ข้างล่าง 25 จุดนะครับ โดยขนาดของออเดอร์เราจะเข้าเป็น 3 เท่าของออเดอร์แรกนะครับ คือสามเท่าของออเดอร์ที่เราผิดทางนะครับ ออเดอร์แรกเราเข้า sell 0.1lot แต่ผิดทาง แล้วออเดอร์ที่จะแก้ออเดอร์แรกให้ตั้ง Buy stop ไว้ที่ 0.3 lot ครับ จนกระทั้งกราฟผิดทางเข้าให้มันจะมาเปิดออเดอร์ Buy Stop ที่เราตั้งไว้ด้านบนนะครับ เมื่อออเดอร์ที่ 2 (Buystop 0.2lot) บวกได้ 25 จุด ก็ให้เราปิดออเดอร์ทั้ง2 ออเดอร์พร้อมกันอย่างเร็วที่สุดเลยนะครับ หรืออาจจะใช้คำสั่งปิดออเดอร์พร้อมกันก็ได้ครับเพื่อความรวดเร็ว และเมื่อเราปิดออเดอร์ทั้ง 2 นี้แล้ว ก็ลองมาดูกันครับว่า กำไรจากออเดอร์ที่ 2 เพียงแค่ 25 จุดจะได้สักเท่าไหร่กันเชียว ออเดอร์ Buy 0.3 lot.  3$ x 25 Pip = 75$ ออเดอร์ Sell 0.1 lot.  1$ x 50 Pip = -50$ หักล้างกัน 75$ - 50$ เราจะได้กำไรอยู่ที่ 25$ ครับ ไม่น้อยเลยใช่ไหมละครับ กรณีต่อไป คือกรณีที่กราฟไม่ชนเป้า Buy stop ขอ
กลยุทธ์การตั้ง TP เเละ Stop loss โดยอาศัยพฤติกรรมราคา  stop loss หรือ take profit  ตามนิยามคือ  - stop loss จุดขาดทุน  คือ จุดที่เรายอมขาดทุน ยอมเสียเงิน เพื่อที่จะไดไม่เจ็บตัวไปมากกว่านี้    โดยทั่วไปมักเป็นจุดที่เราคิดว่ากราฟไม่น่าจะมาถึง     ในบทความนี้จะกล่าวพึงว่ากลยุทธ์ในการวางจุด SL ที่ดีควรจะวางยังไง  - Take profit จุดที่ทำกำไร  คือ จุดที่เราคาดการว่าราคาสินค้าหรือ ค่าเงินจะขึ้นไปถึงจุดๆนั้น เราคาดการเเล้ววางไว้เป็นจุดทำกำไรของเรา  ในบทความนี้เราจะกล่าวถึงกลยุทธ์ในการคาดการว่าจุดใดกราฟน่าจะมาถึง    เราควรมีความรู้พื้นฐานเรื่องพฤติกรรมราคาเบื้องต้นก่อนครับ  ดังนี้  สำหรับผม  คนเขียนบทความ  ได้เเบ่งพฤติกรรมราคาออกเป็น 2 ส่วนหลักๆ   คือ พฤติกรรมราคาที่เป็นเทรน  เเละพฤติกรรมราคาที่กระทำต่อเเนวรับ-เเนวต้าน พฤติกรรมราคาที่เป็นเทรน  ก็เเยกเป็น 2 อย่างอีก  1. การย่อระหว่างเทรนเเบบง่ายๆ(Trend Pull back) 2.การย่อระหว่าเทรนเเบบดูยาก(Trend Complex pullback) พฤติกรรมราคาที่กระทำต่อเเนวรับ-เเนวต้าน ก็เเยกเป็นชนิดย่อยๆอีก 3 ชนิด  1. การทดสอบเเนวรับ-เเนวต้านเเล้วไม่ผ่าน(T