กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ ความรู้ทั่วไป Forex

บทความ

เชื่อได้ว่าหลายคนที่เทรดมาสักระยยะ ก็คงเจอกับเครื่องมือชี้วัดต่างๆ หรือ อินดิเคเตอร์ แน่นอนว่า อินเคเตอร์บนโลกในันี้มีเป็นพันๆ ตัวและออกใหม่ทุกวัน แต่อินเคเตอร์ที่ออกมานั้นก็จะมี หมวดประเภท สำหรับแบ่งแยกใว้อย่างชัดเจน เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน  ประเภทของอินดิเคเตอร์ ✅ การแบ่งประเภทของอินดิเคเตอร์นั้นมีอยู่ด้วยกันหลายรูปแบบ แต่หลักๆสากลที่นิยมแบ่งกันนั้นก็จะมีดังนี้  1.Trend Indicators: อินดิเคเตอร์บอกแนวโน้ม  ✅ เป็นที่ใช้บอกถึงแนวเทรนโน้มของราคาว่าเป็น เทรนขาขึ้น หรือ ขาลง หรือไม่มีมีเทรน sideway โดย Trend Indicators: อินดิเคเตอร์บอกแนวโน้ม ส่วนใหญ่มากจการคำนวณค่าเฉลี่ยทางคณิศาาตร์แล้วนำมาแสดงผลในกราฟ  อินดิเคเตอร์บอกแนวโน้ม ที่ได้รับความนิยมได้แก่ Moving Average (MA), Exponential Moving Agerage (EMA), Parabolic SAR, Average Directional Index (ADX) และ Moving Average Convergence Divergence (MACD) 2.Momentum Indicators: อินดิเคเตอร์บอกโมเมนตัม  ✅ หรือจะถูกเรียก  oscillators   วัดอัตราการเปลี่ยนแปลงของราคา หรือ อัตราเร่งในการเคลื่อนไหวของราคาในกรอบเวลาหนึ่ง ๆ โดยมีกรอบการวัดโมเม้นตั้ม 1-1
DeMarker  หรือ    DeM   คืออะไร 👍 เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ทางเทคนิคที่สามารถเปรียบเทียบกรอบราคาต่ำสุดและสูงสุดในช่วงเวลาปัจจุบัน  ที่ถูกออกแบบมาให้ทำงานคนเดียว (STAND ALONE)   แต่ยังสามารถที่จะทำงานร่วมกับ เครื่องมืออื่นๆ ได้อีกด้วย มีการแสดงผลเมื่อเวลาผ่านไป ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 100 ระดับ (หรือ 0.0 และ 1.0) อินดิเคเตอร์ DEMARKER ได้รับการพัฒนาโดย TOM DEMARK และถูกนำมาใช้ในตลาดตั้งแต่ปี 1970 จนถึงทุกวันนี้ ทั้งในตลาดหุ้น ตลาดตราสารหนี้และตลาดสกุลเงิน FOREX  สูตรดังต่อไปนี้ 1 คำนวณ DeMax = High – ราคา High ก่อนหน้า ถ้า > 0 ให้ค่า DeMax = 0 2 คำนวณ DeMin = ราคา Low ก่อนหน้า – Low ถ้า > 0 หมายความว่า DeMin = 0 3 DeM = MA ของ DeMax/ (MA ของ DeMax+ MA ของ Demin)   แนวทางการใช้งาน  👊 การตั้งค่า DEMARKER ถ้าต้องให้สัญาณ   OVERBOUGHT และ OVERSOLD   แข็งแรงมากขึ้น levels แทนที่จะใช้คลาสสิก 0.7 และ 0.3 ตามลำดับเราใช้ 0.9 และ 0.1  หากใครเคยใช้งาน OSCILLATOR ตัวอื่นอย่าง rsi นี้ก็สมารถใช้งานแบบเดียวกันได้เลย  นั้นคือ  1. OVERBOUGHT และ OVERSOLD 2.D ivergence Convergence ❗ปล.เพื่อ
 Overconfidence คืออะไร 😁 Overconfidence Bias หรือชื่อภาษาไทย คือความมั่นใจมากเกินไป เป็นหนึ่งใน Bias ที่นักลงทุน ควรที่มีการจัดการ เพราะว่าการที่มั่นใจมากเกินไป จะเกิดประมาท และการทุ่มสุดตัวหรือมีคาดหวังมากเกินไป ซึ่งจุดเริ่มต้นของการล้างพอร์ต   ผลกระทบ Overconfidence Bias 😁 1.มีโอกาสที่จะเรา Overtrade ยิ่งมั่นใจเราก็ยิ่งอยากจะได้กำไรมากขึ้น จงทำให้เรา Overtrade หรือไม้เดียวเปลี่ยนชีวิต ซึ่งเสียงมากที่จะล้างพอร์ต หรือติดลบหนัก  2.มีโอกาสที่นอกระบบหรือนอกแผน ยิ่งเราชนะมากขึ้นเรื่อง ความมั่นใจก็ยิ่งเยอะตาม ทำให้บางออเดอรนั้นเราไม่ทำตามระบบ 100 เปอรเซน ทำให้มีโอกาสที่เราจะติดลบสูง แนวทางการแก้ไข  😁 1.ต้องรู้ตัวเอง การมีความมั่นใจเป็นสิ่งที่ดี แต่การมีมากเกินไปมันก็อาจจะส่งผลเสียกับเราได้  2.เอาความมั่นใจนั้นไปทำตามแผนที่วางใว้ จากมั่นใจตัวเองก็จะเป็นการมั่นใจในระบบของเรา  3.ให้นึกใว้ว่า การเทรด คือสงคราม เราไม่สามารถประมาทได้ ใครพลาดคือ ตาย cr.อ่านเพิ่มเติม  https://www.krungsriasset.com/TH/Plan-your-investment/Learn-about-Investment/bias-in-investment.aspx cr.image https://www.freepi
ทริค mt4 วันนี้เราคาจะมานำเสนอ  การ Save Template หรือ บันทึกการตั้งค่ากราฟของเรา ไปใช้กับกราฟอื่นและ ใช้กับเครื่องอื่น  เพื่อลดเวลาในการตั้งค่ากราฟใหม่ วิธีการ SAVE TEMPAGE บน MetaTrader4 ✅ หลังจากที่เราตั้งค่ากราฟ ไม่ว่าจะเป็น อินดิเคเตอร์ ,โรบอทเทรด expert advisor  หรือค่าสีกราฟ อย่างที่ต้องการแล้ว 👉ให้คลิกขวาที่กราฟของที่ต้องการ บันทึก Save Template หลังจากนั้น เลือก Template  และ คลิกเลือก Save Template ตั้งชื่อ Template หลังจากนั้น คลิก Save  / Save Template เรียบร้อย วิธีใช้งาน Template 💬 เปิดกราฟใหม่ขึ้นมา แล้วหลังจากนั้น คลิกขวาที่กราฟที่ต้องการใช้ Template  หลักจากนั้นเลือก Template ที่เราบันทึก  การใช้  Template กับเครื่องอื่น💥 ถ้าอยากขาย Template หรือ ต้องการ ใช้ Template กับเครื่องอื่น เราสามารถทำได้ โดยวิธีการดังนี้  เลือก file และเลือก Open Data Folder  และเลือกโฟรเดอร์ templates  หลังจากนั้น เราก็จะเห็น ไฟล์ templates  ที่เราบันทึกใว้ เเราสามารถ คัดลอกไฟล์ใช้กับเครื่องอื่น โดยคัดลอกไปใว้ยังตำแหน่งเดิมที่เราคัดลอกมา เลือก file และเลือก Open Data Folder  และเลือกโฟรเดอ
เชื่อได้เลยว่าส่วนที่เทรดในตลาดนั้นก็จะเลือกใช้กราฟแท่งเทียนหรือ Candlestick แต่เรามีอีกหนึ่งรูปแบบแสดงผลก็เป็นที่นิยมมากในต่างประเทศมาก นั้นกราฟประเภท Bar Chart ซึ่งเราก็จะไปหาความแตกต่าง ระหว่าง Candlestick  และ  Bar Chart กัน  Bar Chart แตกต่างกับ Candlestick อย่างไร 😀   Bar Chart เป็นรูปแบบกราฟที่แสดงผลราคาในอดีตที่สามารถบอกราคาปิด ราคาเปิด ราคาสูงสุด และ ราคาต่ำสุด ซึ่งจะเหมือนกับ Candlestick แต่สิ่งที่แตกต่าง  คือ Bar Chart ไม่มีตัวเนื้อแท่งเทียน มีแค่ขีดให้รู้ว่าปิดและเปิดที่เท่าไหร่ แต่จุดเด่นของ Bar Chart  นั้นการมองเห็นราคาสูงสุดและต่ำสุดได้ชัดเจนกว่า เพราะไม่มีตัวเนื้อเทียนมาบนบังกราฟ ถ้าเปิดใน meta trader 4 ก็จะเห็นขนาดเส้นของ Bar Chart ใหญ่กว่าหางของ Candlestick  😀ส่วน Candlestick  ก็อย่างที่ใช้งานกัน สามาถเห็นเนื้อเทียน ทำให้เรานั้น เห็นราคาปิดและปิดของราคาได้ชัดเจนกว่า Bar Chart นั้นจึงทำให้คนส่วนใหญ่นั้นเลือกเทรด  Candlestick  มากว่า Bar Chart นั้นเอง  แต่สำหรับคนที่เทรดระยะยาวหรือต้องการลด อคติต่อกราฟ หรือแม้กระทั้งต้องถือออเดอร์ยาวๆ Bar Chart  ก็เป็นหนึ่งตัวเลือกได้
เชื่อได้ว่าหลายคนที่เทรด forex นั้นจะต้องเคยเจอข่าวที่จะส่งผลต่อกราฟของราคา forex และหนึ่งในข่าวที่แรงที่สุดนั้นก็คือ ข่าว Non Farm  ซึ่งวันนี่เราก็จะไปทำความรู้จักและวิธีการตีความหมาย รวมไปถึง เหตุผลที่เราไม่ควรเทรดข่าวนี้  Non-Farm คืออะไร 🚩 Non-Farm Payrolls หรือในชื่อย่อว่า NFP การรายงานอัตราการจ้างงานของสหรัฐฯ ไม่รวมอุตสาหกรรมภาคเกษตร ประกาศออกมาสะท้อนถึงภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ถ้าตัวเลขสูงกว่าตัวเลขที่คาดการ์ณใว้ ก็แสดงว่า เศรษฐกิจสหรัฐฯ ดีขึ้น แต่ถ้าตัวเลข น้อยกว่า คาดการ์ณใว้  เศรษฐกิจสหรัฐฯ แย่ลง และเนื่องด้วย USD เป็นทุนสำรองแทบจะทุกประเทศ ฉนั้นมันก็จะสงผลต่อราคาแลกเปลี่ยน จึงทำให้ราคากราฟทั้งตลาดมีการผันผวนหลังจากประกาศตัวเลข โดยจะประกาศตัวเลข วันศุกร์แรกของเดือน เข้าไปดูได้ที่ forexfactory การตีความหมาย Non-Farm Payrolls 🔥 ตัวเลข Non-Farm Payrolls สูงขึ้น ตัวเลขออกมาสูงกว่าเดิม  USD มักจะมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้น ราคาทองคำจึงมีแนวโน้มปรับตัวต่ำลง และผลกระทบต่อคู่เงินที่มี USD อยู่ข้างหน้า เช่น USDJPY, USDCHF : ราคามีจะแนวโน้ม ปรับตัวสูงขึ้น ผลกระทบต่อคู่เงินที่มี USD อยู่ข้างหลั
  หากใครเทรดหุ้นมาหรือเทรดมาสักระยะ ก็เคยได้ยิน คำว่า เม่าติดดอย เป็น เม่ามือใหม่ ซึ่งคำนี้ก็มักจวนอยู่ในตลาดมานาน ซึ่งวันนี้มาทำความรู้จักกัน ทำมัยถึงเรียกว่า เม่า  เม่า คืออะไร 🐞 เม่าคือแมลงที่จะออกมาในตอนกลางคืน และมีอายุสั้น และมักชอบแสงไฟ ด้วยลักษนะชีวิตของมัน เราจึงเอามาผูกกับคนเล่นหุ้นว่า เม่า  คนที่เป็นเม่าในตลาดหุ้นคือ คนที่ขาดทุนจากการเข้าซื้อในช่วงเวลาที่เป็นขาขึ้นอย่างรุนแรง เปรียบเสมือนกองไฟที่ลุกโซน  แต่โดยราคาเทขายจนตัวเองติดดอย เราเรียกว่า เม่าติดดอย เป็นต้น  เปรียบเหมือน เม่าบินเข้ากองไฟ  🐞 โดยส่วนใหญ่เม่าจะชอบอะไรที่แรงๆ และเข้าโดยตามคนอื่น โดยไม่ได้ดูพื้นฐานของหุ้นหรือพื้นฐานของสินค้านั้นเลย  ซึ่งคำว่า เม่าใน ปัจจุบันก็นำมาใช้ นักลงทุนรายย่อย ซึ่งคนที่สำเร็จจากการเป็นนักลงทุนรายย่อยก็จะถูกเรียก ว่า  พญาเม่า  สินค้าอะไรบ้างที่มีโอกาศที่จะทำให้เราเป็นเม่า  🐞 1.หุ้นปั้น เมื่อนักลงทุน ล่อเม่าโดยหุ้นที่ราคาไม่สูงและพื้นฐานไม่ดี จนราคาหุ้นสูงมากๆๆ จนล่อเม่าได้สำเร็จ หลังจากนั้น เทขายอย่างรุนแรง จนทำให้เม่าขาดทุนหนัก  2.คริปโต  ปฏิเสธิไม่ได้เลยว่าราคาของ คริปโต นั้นมีล่อ
  การขาดทุนนั้นเป็นสิ่งที่ทุกคนไม่เจอ แต่ก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะการเทรด ไม่ว่าจะเทพขนาดใหนก็ต้องเจอกับการขาดทุน ซึ่งรูปแบบ การขาดทุน นั้น ก็แบ่งได้หลายรูปแบบ ดังนี้  รูปแบบการขาดทุนในตลาด❌❌ 1. การขาดทุนเงินทุน Capital Losses 😂 เป็นรูปแบบที่เกิดขึ้นง่ายที่สุด หรือเรียกๆ ง่ายว่า Stoploss หรือการตัดขาดทุน   ตัวอย่าง  เราซื้อหุ้นตัวหนึ่ง ในราคา 10 บาท และวางแผนไว้ว่า กำไร 15 บาทก็จะปิด และตัดขาดทุน ที่ราคา 8 บาท เมือเราได้เข้าซื้อแล้วราคาดันราคาลงมาที่ 8 บาท เราเลยตัดสินใจปิดออเดอรหรือ ขายออเดอรนี้ออกไป จึงทำให้เราเงินในพอร์ตเราลดลง  เป็นรูปแบบพูดเหมือนง่ายแต่ทำจริงมันยากมากๆ เพราะคนเราไม่ชอบการสูญเสียหากใจหรือระบบไม่ชัดเจนก็มีโอกาสที่จะไม่สามารถที่ะปิดออเดอรได้ตามแผนที่ตั้งไว้ เพราะมีอารมเข้ามาเกี่ยวข้อง  2.ขาดทุนโอกาศ Lost Opportunities 😢 รูปแบบนี้จะไม่เสียในตัวเงิน แต่จะเสียเวลาและโอกาสแทน  หรือพูดง่ายคือ  เท่าทุน เป็นรูปแบบที่ซื้อหุ้นใว้ 1 ตั้ว แล้วราคามันก็ขึ้นไป แต่เราไม่ได้ปิด กะปล่อยยาว แต่ราคาก็เริ่มที่ เปลี่ยนรเทรนและลงมาอยู่ที่เดิมตำแหน่งเดียวกับที่เข้าออเดอร์ นั้นจึงทำให้เรา
  วันนี้เราจะแนะนำ อินดิเคเตอร์อีกหนึ่งตัวซึ่งเป็นผลงานเอกของ Larry R. Williams เจ้าของแชมป์เทรด World Cup ChampionShip of Futures trading ปี 1987 นั้นก็คือ  Williams %R   พร้อมแนวทางการใช้งาน  Williams %R คืออะไร 💻 อินดิเคเตอร์ที่มีความสามารถในการวัดโมเมนตัมตัวของราคา  โดยใช้ราคาปิดปัจจุบัน เทียบกับช่วง High-Low ในอดีต (ย้อนหลัง 14 วัน  ค่า Default   ) เพื่อดูว่า ราคาปิดปัจจุบันนั้นอยู่ในช่วงต่ำ หรือสูง เมื่อเทียบกับรอบการแกว่งตัวที่ผ่านมา  โดยใช้สูตรคำนวณ  สูตรการคำนวณ💻 %R = (Highest High – Close)/(Highest High – Lowest Low) * (-100) Lowest Low = lowest low for the look-back period Highest High = highest high for the look-back period %R is multiplied by -100 to correct the inversion and move the decimal. แนวทางการใช้งาน ✅ 1. Cross of -50 🚧 เนื่องด้วย  Williams %R  วัดโมเมนตัม โดยใช้ เส้น 50 เป็นค่ากลาง หากค่า    %R มากกว่า -50 ก็เป็น โมเมนตัมเชิงบวก แต่  Williams น้อยกว่า  -50  ก็เป็น โมเมนตัมเชิงลบ  ❗ปล.อาจต้องปรับค่า  Period ของ   Williams %R ให้มากขึ้นเพื่อลดสัญญาณหลอก  2. Over
 หลังจากที่เรานำเสนอ เกี่ยวกับ Take Profit  และ  Let run Profit  ไปแล้วหลายคนก็จะสงสัยล่ะ ว่าเราควรเลือกอะไรดี วันนี้จะแนวทางการเลืองรูปแบบทำกำไรให้เหมาะกับคุณกัน  Take Profit VS Let run Prof it  Take Profit  ✅ คือการกำหนดเป้าหมายที่ชัดนในการปิดออเดอร์ ตัวอย่างเช่น กำไรที่แนวโน้นแนวนี้ หรือ กำไร 50% ของพอร์ดปิด ข้อดี   ✅  1.ชัดเจนถ้าชนะเราได้เท่าไหร่ กำหนดได้ชัดเจน  2.จบออเดอรไวกว่า  ข้อเสีย❌ พลาดโอกาสสำหรับราคา ระยะยาว ตัวอย่างเช่น ราคามันขึ้นได้ 5000บาท แต่เราปิดออเดอรไปที่ราครา 500 บาท  เหมาะสำหรับใครบ้าง 😀 เหมาะสำหรับสำหรับเดย์เทรด ไม่ว่าจะเป็นสาย Swing trader / scalping trading / หรือ ระบบที่มีการกำหนดการเข้าออกที่ชัดเจน 
Pip/Point/Tick ใน Forexคืออะไร????                หากเราก้าวเข้ามาสู่วงการ Forex แล้วละก็สิ่งที่ต้องศึกษาเรียนรู้ และทำความเข้าใจก่อนเทรดก็คือเรื่อง จุดในการทำกำไร นี่แหละ จะมากจะน้อย ขอให้ได้กำไรไว้ก่อน    1. PIP    คืออะไร  คำว่า PIP (Price Interest Point) หมายถึงการนับค่าจุดทศนิยมตัวสุดท้ายหรือทศนิยมตำแหน่งที่ 2 หรือ 4 ไล่ขึ้นมา ของคู่สกุลเงิน                   เช่น  EURUSD   2.345 3  ขยับไปที่  2.345 4   = 1 pip                      ยกเว้นบางสกุลเงิน เช่น คู่เงินเยนของญี่ปุ่น (ซึ่งมีทศนิยมสองตำแหน่ง)                   เช่น   USDJPY  110.00 เยน เป็น 110.01 เยน = 1 pip                โดยปกติและการการเทรด forex ในบัญชีแบบ mini หรือ cent เรามักจะใช้ค่า pip มากกว่าค่า point  เช่นกำไรที่ 20 pip หรือ ขาดทุน 100 pip  เป็นการนับหน่วยที่ใช้วัดการเคลื่อนไหวของคู่สกุลเงินใน forex โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงเป็นหน่วย  2. Point  หรือ จุด เราจะใช้นับการเคลื่อนไหวของจุดทศนิยมตำแหน่งที่ 3 หรือ 5 ไล่ขึ้นมา ซึ่งจะมีอยู่ไม่กี่คู่เงิน                เช่น  EURAUD ที่ราคา 2.34340 เปลี่ยนเป็น 2.34349 =  9 Poi